กฎหมายชาวบ้าน ให้คำปรึกษากฎหมาย ฟรี กฎหมายชาวบ้าน
ปรึกษากฎหมาย และคดีความ
เกี่ยวกับเรา ติดต่อเรา งานรับว่าความ ปรึกษากฎหมายทางอีเมล์ เว็บบอร์ดสอบถามกฎหมาย
สำนักงาน เอนก ทนายความ เบอร์โทรศัพท์ : 086 055 0569 เว็บไซต์ : www.chawbanlaw.com Email : chawbanlaw@gmail.com
เว็บไซต์ที่น่าสนใจ สำนักงาน ศาลยุติธรรม ศาลฎีกา ศาลอุทธรณ์ สภาทนายความ ราชกิจจานุเบกษา ห้องสมุดกฎหมาย กรมบังคับคดี กรมศุลกากร ห้องสมุด ศาลยุติธรรม เนติบัณฑิตสภา กรมสรรพากร ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ สภาผู้แทนราษฎร ศาลแพ่ง รัชดา สำนักงานอัยการสูงสุด กรมสรรพสามิต ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ วุฒิสภา ศาลอาญา รัชดาฯ ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ศาลยุติธรรม สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ สำนักงานประกันสังคม กรมราชทัณฑ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กรมสอบสวนคดีพิเศษ กรมที่ดิน ศาลอาญากรุงเทพใต้ สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง สำนักงาน ป.ป.ส. กระทรวงยุติธรรม กรมพัฒนาธุรกิจการค้า สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ศาลแรงงานกลาง ศาลล้มละลายกลาง ศาลรัฐธรรมนูญ สำนักงาน ศาลปกครอง ศาลภาษีอากรกลาง สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กรมธนารักษ์ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สำนักงานคุ้มครองพยาน - กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ สำนักงาน กสทช ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ศาลแพ่งตลิ่งชัน ศาลแพ่งพระโขนง ศาลจังหวัดสมุทรปราการ กรมการขนส่งทางบก กฎหมายชาวบ้าน หลักเกณที่กำหนดว่าเป็นทรัพย์มรดกของผู้ตายหรือไม่  ทรัพย์มรดก คือ ทรัพย์สินของคนตาย หากเจ้าของทรัพย์สินยังไม่ตาย ทรัพย์สินนั้นก็ไม่ใช่มรดกที่จะตก ทอดไปยังทายาท ดังนั้นผู้ที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินในขณะที่มีชีวิตอยู่ สามารถจะจัดการทรัพย์สินของตัวเองอย่างไร ก็ได้ พอใจใครจะยกให้โดยเสน่หาก็ทำได้ หรือจะขายจะโอนให้กับใครก็ได้ ตามแต่ที่เจ้าของทรัพย์สินต้องการ แต่หากเจ้าของทรัพย์สินเสียชีวิตปุ๊บ ทรัพย์สินที่มีอยู่ในขณะนั้น จะกลายเป็นมรดกไปโดยทันที การตาย จะทำให้ทรัพย์สินที่มีอยู่ของบุคคลที่ตายนั้น กลายเป็นมรดก และความตายอันเดียวกันนั้นเองก็ อาจจะเป็นเหตุทำให้ผู้ตาย ได้ทรัพย์สินบางอย่างมาเพิ่มหลังจากที่ถึงแก่ความตายนั้นแล้วก็ได้ ซึ่งทรัพย์สินที่ได้มา นั้น จะถือเป็นทรัพย์มรดกของผู้ตายที่จะต้องนำมาแบ่งให้กับทายาทหรือไม่ ตรงนี้เบื้องต้นเราจะต้องพิจารณาก่อน โดยจะต้องมีการแบ่งแยกว่าสิ่งไหนเป็นทรัพย์มรดกของผู้ตาย สิ่งไหนไม่ใช่ทรัพย์มรดกของผู้ตาย ซึ่งหากเรารู้แล้ว เราก็จะสามารถจัดการทรัพย์สินเหล่านั้นได้ง่ายขึ้น หลักเกณฑ์ที่เราจะรู้ได้ว่าทรัพย์สินไหนเป็นมรดก อันไหนไม่ใช่ทรัพย์มรดก เราจะใช้หลักการแบ่งแยก ง่ายๆ โดยใช้ช่วงเวลาก่อนตายและหลังการตายเป็นเส้นแบ่ง ตามหลักที่ว่า ทรัพย์สินใดที่ผู้ตายได้มาก่อนตาย หรือมีอยู่ในขณะที่ถึงแก่ความตายนั้น เป็น “ทรัพย์มรดกของผู้ตาย" ส่วนทรัพย์สินที่ได้มาภายหลังการตาย หรือ ได้มาเนื่องจากการตาย ทรัพย์สินเหล่านั้นที่ได้มา จะไม่ใช่ทรัพย์มรดกผู้ตาย ทรัพย์สินที่ได้มาก่อนตาย หรือมีอยู่ในขณะที่ตายนั้น ไม่น่าจะยากในการทำความเข้าใจซักเท่าไหร่ ส่วนทรัพย์สินที่ได้มาภายหลัง หรือได้มาเนื่องจากการตายที่ไม่ใช่มรดกนั้น ขอยกตัวอย่างเช่น เงินค่าทดแทนจาก การเสียชีวิต, เงินค่าสินไหมจากประกันภัย, เงินสงเคราะห์ในการจัดงานศพ, เป็นต้น กลับหน้าแรก กลับหน้า กฎหมายมรดก